ผู้เขียน หัวข้อ: ข้อต่อปลดเร็ว ตัวผู้ -ตัวเมีย ข้อต่อสวมเร็ว ข้อต่อสวมไวสายสตรีม  (อ่าน 1381 ครั้ง)

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด

lungthiwa2503

  • บุคคลทั่วไป

• “พระตุ๊ดผิดตรงไหน” เป็นคำถามที่น่าสนใจที่เกิดขึ้นในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา แต่การจะหาคำตอบคงไม่ง่ายนัก ที่จะฟันธงไปเลยว่า ‘ผิดหรือถูก’ เพราะขึ้นอยู่กับว่าคำตอบที่ได้เป็นมุมมองจากใคร และมาจากวิธีคิดแบบไหน
• ในมุมมองของกลุ่มชาวพุทธที่ Conservative ก็คงจะตอบว่า ‘ผิด’ ร้อยเปอร์เซ็นต์ เพราะนิกายเถรวาทเชื่อกันว่าสามารถรักษาความออจิรินัลของคำสอนของพระพุทธองค์ไว้ได้ยาวมาจนถึงทุกวันนี้ และยังเชื่อกันว่าเป็นผู้ที่จะยังคงรักษาความเป็น Authentic ของพุทธศาสนาไว้ และจะต้องรักษาแบบนี้ไว้ให้ได้ในโลกปัจจุบันและอนาคตด้วย ดังนั้นการพิทักษ์คำสอนของพระพุทธเจ้าจึงถือเป็นเรื่องสำคัญ
• ในแง่หนึ่ง หากมองในแง่สังคม ในโลกปัจจุบัน กับศาสนาที่ควรอนุวัตไปตามบริบทโลก บริบทสังคม คำตอบคงเป็นไปในทำนองของการอนุโลมมากกว่า คือไม่ยืนยันว่าผิดหรือถูก แต่พออนุโลมได้หากอยู่ภายใต้ข้อกำหนด และข้อกำกับพฤติกรรมจากพระธรรมวินัย
น่าสนใจอย่างยิ่ง เมื่อ ธัญ-ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ สมาชิกผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่ ผู้ประกาศตนว่าเป็น ส.ส. LGBT ได้ออกมาตั้งคำถามต่อสังคมว่า “พระตุ๊ดผิดตรงไหน”
คำถามดังกล่าวเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างยิ่ง และมีความคิดเห็นแตกต่างกันหลากหลายมุมมอง
จริงๆ แล้วคำถามนี้ถือว่าเป็นคำถามที่น่าสนใจมากคำถามหนึ่ง ซึ่งจะเป็นคำถามตั้งต้นที่จะนำไปสู่คำถามและคำตอบอีกมากมาย แต่หากจะชวนกันมาไขคำตอบก็คงจะเป็นเรื่องที่ไม่ง่ายนักหากจะฟันธงไปเลยว่า ‘ผิดหรือถูก’
สิ่งที่น่าสนใจและพอจะช่วยไขคำตอบนั้นได้คือ การตั้งคำถามต่อคำถามนี้ของธัญมากกว่า “เราจะเอาคำตอบจากใคร จากมุมมองใด จากวิธีคิดไหน” และนั่นอาจจะเป็นคำตอบ
ดังนั้นจึงจะขอแบ่งคำตอบออกมากว้างๆ 2 กลุ่มคำตอบใหญ่ ซึ่งต้องขอบอกก่อนว่าคำตอบที่ได้อาจจะไม่ได้ตรงใจฝ่ายใด หรือผู้ที่ต้องการคำตอบแบบชี้ชัด
คำตอบจากกลุ่มแรก แน่นอนว่าการตั้งคำถามเช่นนี้ ในมุมมองของกลุ่มชาวพุทธที่ Conservative ก็คงจะตอบว่า ‘ผิด’ ร้อยเปอร์เซ็นต์ เพราะการตั้งคำถามเช่นนี้ในมุมมองของชาวพุทธกลุ่มนี้ ก็ไม่ต่างจากการเอาวิธีคิดของโลกยุคปัจจุบันไปตั้งคำถามกับโลกเมื่อ 2500 กว่าปีที่ผ่านมา กับโลกทัศน์ความเชื่อของชาวพุทธแบบเถรวาท ต้องย้ำว่าเถรวาท เพราะนิกายเถรวาทเชื่อกันว่าสามารถรักษาความออริจินัลของคำสอนของพระพุทธองค์ไว้ได้ยาวมาจนถึงทุกวันนี้ และยังเชื่อกันว่าเป็นผู้ที่จะยังคงรักษาความเป็น Authentic ของพุทธศาสนาไว้ และจะต้องรักษาแบบนี้ไว้ให้ได้ในโลกปัจจุบันและอนาคตด้วย
ดังนั้นการพิทักษ์คำสอนของพระพุทธเจ้าที่เชื่อกันว่ายังคงบริสุทธิ์อยู่และได้รับการสืบทอดกันมาในรูปแบบของพระธรรมวินัยในพระไตรปิฎกจึงถือเป็นเรื่องสำคัญ
ในพระวินัยอันเป็นส่วนหนึ่งในพระไตรปิฎกนั้น กล่าวไว้อย่างชัดเจนว่าพุทธองค์ทรงห้ามให้บัณเฑาะก์บวช หรือหากบวชอยู่ก็ให้สึกออกเสียจากสมณเพศ โดยข้อบัญญัติดังกล่าวเกิดขึ้นจากเหตุที่ว่า มีพระสงฆ์รูปหนึ่งเป็นบัณเฑาะว์เกิดความกำหนัด จึงได้ไปไหว้วานให้พระภิกษุด้วยกันว่า “จงมาทำประทุษร้ายข้าพเจ้า” แต่ไม่ได้รับการตอบสนอง แถมยังโดนตำหนิจากพระสงฆ์อีก จึงไปขอสามเณรที่รูปร่างหน้าตาดีอีกครั้ง ก็ไม่ได้รับการตอบสนอง จึงไปขอคนเลี้ยงช้างเลี้ยงม้า
ปัญหาจึงเกิดเมื่อคนเลี้ยงช้างเลี้ยงม้าเอาความนี้ไปเล่าต่อกันว่า พระศากยบุตร หมายถึงบุตรแห่งพุทธองค์ (ตามความเชื่อเถรวาท เราถือว่าสงฆ์ทุกรูปเป็นศากยบุตร) เป็นบัณเฑาะก์ พุทธองค์จึงทรงบัญญัติห้ามไว้ จากบทบัญญัตินี้จึงกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการคัดกรองพระสงฆ์ที่จะบวชในบทขานนาคที่ว่า ‘ปุริโสสิ’ ที่แปลว่า ‘เป็นชายหรือไม่’
จากข้อบัญญัตินี้ ชาวพุทธกลุ่มนี้จึงมองว่าบัณเฑาะก์เป็นเพศลุ่มหลงในกามคุณและจะทำให้ศาสนาเสื่อมลง
ดังนั้นการตั้งคำถามว่าพระตุ๊ดผิดไหม ผิดตรงไหน แน่นอนคำตอบจากชาวพุทธกลุ่มนี้จึงเท่ากับว่า ‘ผิด’ แน่ๆ แล้วที่ผิดในที่นี้ก็ผิดใน 2 ระดับใหญ่ๆ ด้วยคือ
1. ผิดในแง่พระวินัยอันเป็นพุทธบัญญัติและผิดตั้งแต่กระบวนการรับเข้าสู่สมณเพศแล้ว
2. ผิดในระดับทำลายความเป็นออริจินัลและความเป็น Authentic ของพุทธศาสนาตามความเชื่อของเขา ซึ่งแน่นอนในมุมมองนี้อย่าพูดถึง ตุ๊ด กะเทย บัณเฑาะก์เลย ขนาดผู้หญิงซึ่งถือเป็นเพศที่ถูกต้องตามหลักธรรมชาติตามวิธีคิดเกี่ยวกับเรื่องเพศของเขา ตามพระวินัยยังไม่ยินยอมให้บวชด้วยซ้ำไป
คำตอบจากกลุ่มที่สอง ในแง่หนึ่ง หากมองในแง่สังคม ในโลกปัจจุบัน กับศาสนาที่ควรอนุวัตไปตามบริบทโลก บริบทสังคม คำตอบคงเป็นไปในทำนองของการอนุโลมมากกว่า คือไม่ยืนยันว่า ผิด หรือ ถูก แต่พออนุโลมได้หากอยู่ภายใต้ข้อกำหนด และข้อกำกับพฤติกรรมจากพระธรรมวินัย
แน่นอนในปัจจุบันเราเริ่มที่จะตั้งคำถามต่อศาสนา ต่อความเชื่อทางศาสนามากขึ้น ไม่ว่าจะในแง่เชิงคุณค่าว่ายังคง ‘มีฟังก์ชัน’ กับผู้คนอยู่หรือไม่ ขัดแย้งกับหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือไม่ ซึ่งหากเทียบกันก็มองได้ว่า ‘การไม่มีศาสนา’ แทบจะเป็นศาสนาหนึ่งของผู้คนในโลกปัจจุบันไปแล้วด้วยซ้ำ
ไม่เพียงเท่านั้นกระแสวิธีคิดเรื่องความเท่าเทียมจากเพศ เสรีภาพทางศาสนาก็เริ่มที่จะถูกใช้ในการตั้งคำถามเกี่ยวกับหลักปฏิบัติและหลักการทางศาสนา ซึ่งหากใช้วิธีคิดนี้มองศาสนา ก็หมายถึงว่า มนุษย์ ปุถุชน ทุกเพศ ทุกวัยมีเสรีภาพที่จะเข้าถึงความเป็นสมณเพศ ความเป็นพระสงฆ์ หรือแม้แต่มีสิทธิ มีเสรีภาพที่จะบรรลุหลักธรรมอันเป็นปรัชญาขั้นสูงของพระศาสนาได้ จึงเริ่มเป็นที่มาของการตั้งคำถามหลายต่อหลายคำถาม
ดังนั้นพระตุ๊ดผิดไหม ผิดตรงไหน จึงอาจไม่มีคำตอบที่ชัด แต่สิ่งที่ควรจะเป็นคือ ศาสนาก็ควรอนุโลมและอนุวัตตามโลก และผู้ที่จะเข้าไปอยู่ในสมณเพศก็ต้องยอมรับแล้วว่าพื้นที่นั้นมีกฎหรือมีวินัยที่ต้องคอยกำกับ ในแง่ระเบียบแบบแผนของพุทธเถรวาท
ดังนั้นการจะเข้าไปในพื้นที่ดังกล่าว ตุ๊ด เกย์ กะเทย หรือไม่ว่าจะเพศใด แม้จะมีสิทธิและเสรีภาพ ก็ต้องยอมรับและปฏิบัติตามกฎนั้นๆ ดังคำพูดของพระสงฆ์ผู้ที่ยอมรับว่าตนเองเป็นพระตุ๊ดรูปหนึ่งว่า ‘สาวในระเบียบไหม’ ‘สาวในกฎไหม’
ดังนั้นความผิดหรือความถูกต้องจึงควรมองหรือควรพิจารณาที่พฤติกรรมส่วนบุคคลมากกว่าเรื่องเพศ เช่น แนวคิดที่ว่า ‘กะเทย เกย์ เป็นผู้หมกมุ่นทางเพศหากให้เข้ามาจะทำให้ศาสนาเสื่อม’ การอธิบายเช่นนี้หมายถึงการกีดกันทางศาสนาที่เกิดขึ้นจากอคติทางเพศ เพราะเรื่องพวกนี้เป็นกันได้ทุกคน ไม่ว่าชาย หญิง เกย์ กะเทย ทอม ดี้ ไม่ว่าเพศไหนเรื่องรัก โลภ โกรธ หลงก็มีได้เป็นธรรมดา
สิ่งที่ผู้เขียนจะเสนอคือ เราควรอนุวัตตามกัน ศาสนาก็ควรจะให้เสรีภาพตามหลักการของทางโลก ทางโลกก็ควรเข้าใจหลักการทางศาสนาด้วยเช่นกัน แต่หากเราจะยืนยันเอาคำตอบแบบชี้ชัดไปเลยว่าต้องถูกหรือต้องผิด ก็เท่ากับว่าศาสนาและโลกก็ไม่เข้าใจซึ่งกันและกัน
เพราะฉะนั้นคำตอบของคำถามที่ว่า “พระตุ๊ดผิดไหม” “ผิดตรงไหน” จึงไม่มีคำตอบที่เป็นสูตรสำเร็จ คำตอบจึงเป็นการชี้แจงให้เห็นถึงมุมมองที่หลากหลายในสังคม ขึ้นอยู่กับว่าจะใช้มุมมองทางศาสนา และวิธีคิดอย่างไรในการให้คำตอบมากกว่า
แต่ว่าคำถามที่น่าสนใจมากกว่าจะถามว่าพระตุ๊ดผิดไหม ผิดตรงไหน หรือมากกว่าการแสวงหาคำตอบที่เป็นสูตรสำเร็จ คือคำถามที่ว่า ใครเป็นผู้ชี้ว่าสิ่งนี้ผิด สิ่งนี้ถูก ใครเป็นผู้กุมอำนาจในการอธิบายความผิด-ความถูก ความแท้-ความเทียมของศาสนามากกว่า ซึ่งไม่ใช่แค่เรื่องของพระตุ๊ด แม้แต่พระชาย หรือหลักคำสอนทางศาสนาด้วยกันเองก็ถูกนิยามความผิด-ถูกจากกลุ่มผู้มีอำนาจนั้นด้วย ดังนั้นเรื่องพวกนี้จึงถือเป็นเรื่องการเมืองทางศาสนา ‘Authentic จึงเท่ากับ Politic’ เพราะฉะนั้นสิ่งนี้ต่างหากที่ปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่คำถามว่าทำไมพระตุ๊ดถึงผิด
แต่ทว่าหากจะพิจารณากันไปให้สุดทางว่า ศาสนาควรจะปรับตัวอย่างไรตามหลักเสรีภาพทางศาสนา เราควรจะหลุดจากอำนาจของกลุ่มอำนาจที่คอยกำกับคำนิยาม คำอธิบายหลักการทางศาสนาแล้วหรือไม่อย่างไร เราก็ควรจะพูดไปถึงประเด็นว่าด้วยการแยกศาสนาออกจากรัฐ (Secular State) ซึ่งแน่นอนว่าเป็นเรื่องที่ต้องคุยกันอีกยาว
บทความโดย อ.รุ่งทิวา เริ่มฤกษ์

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด
ดันกระทู้

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด
ดันกระทู้

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด
ดันกระทู้

0933972952

  • บุคคลทั่วไป



ศาสตร์ที่เจ้าของร้านWitch Luck Cafe
ใช้อยู่คือ ไพ่ทาโรต์หรือไพ่ยิปซี
เริ่มแรกจากชื่อเรียกของไพ่ก่อนเลย
หลายคนอาจจะสงสัยว่าทำไมเดี๋ยวเปย์เป้
ก็เรียกว่าไพ่ทาโรต์ เดี๋ยวก็เรียกว่าไพ่ยิปซี ตกลงแล้วไพ่ที่ใช้ดูดวงเนี่ย มันมีชื่อเรียกว่าอะไรกันแน่นะ ?!
ความจริงแล้วเราสามารถเรียกได้ทั้ง 2 แบบเลย เพราะเป็นไพ่ชนิดเดียวกัน แต่ในสากลจะเรียกไพ่ชนิดนี้ว่าไพ่ทาโรต์ ส่วนคนไทยเราจะนิยมเรียกว่าไพ่ยิปซีมากกว่า นั้นก็เป็นเพราะเราเรียกตามที่มาของไพ่นั้นเอง
คำว่ายิปซีตามประวัติศาสตร์ คือ ชื่อเรียกของกลุ่มคนเร่ร่อนในยุโรปกลุ่มนึง เชื่อว่าเป็นคนอินเดียหรือฮินดูที่อพยพกันไปอยู่ในแถบทวีปยุโรป ซึ่งในยุคนั้นคนยุโรปไม่ได้ชื่นชอบคนต่างชาติและออกไปทางเหยียด มิหนำซ้ำชาวยิปซียังเป็นคนผิวสีด้วย ก็ยิ่งไม่ได้รับการยอมรับจากคนยุโรปยิ่งกว่าเดิม เพราะมีความเชื่อว่าสีดำ คือ สีของซาตาน 
ซึ่งลักษณะนิสัยของคนกลุ่มนี้ คือ ชอบความสนุกสนาน ความบันเทิงเริงใจ และขึ้นชื่อว่าเป็นกลุ่มหัวขโมยเพราะมือไว ล้วงกระเป๋าไวเป็นที่สุด และความสามารถพิเศษของพวกเขา คือ การทำนายอนาคต ! ด้วยความสามารถนี้แหละที่ทำให้มุมมองของคนยุโรปที่มีต่อชาวยิปซีเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น
ก่อนที่จะมาเป็นไพ่ทาโรต์ ชาวยิปซีดูดวงด้วยการใช้ลูกแก้วมาก่อน ถ้าเราเคยดูหนังหรือในละครที่จะเห็นหมอดูทำนายดวงโดยใช้ลูกแก้ว บอกเลยว่านี่แหละคือการทำนายชะตาแบบออริจินอลแท้ของชาวยิปซี ซึ่งลูกแก้วนี้เป็นเหมือนสื่อนำในการทำนายทายชะตา โดยจะสะกดจิตให้ผู้ถูกทำนายจมอยู่กับสมาธิและคล้อยตามจนพูดถึงสิ่งที่เคยทำในอดีตออกมาแบบหมดเปลือก
แต่เมื่อต้องอพยพไปยุโรปการทำนายด้วยลูกแก้วนั้นดูจะอันตรายเกินไป จากเดิมที่ถูกเหยีดดอยู่แล้ว จู่ๆ ถ้าไปนั่งทำนายชะตาแบบสุ่มสี่สุ่มห้า อาจถูกกล่าวหาว่าเป็นพ่อมดหรือแม่มดได้ ทำให้ชาวยิปซีต้องเปลี่ยนจากการทำนายด้วยลูกแก้ว มาใช้ไพ่เป็นสื่อกลางในการทำนายแทน พร้อมสอดแทรกเรื่องราวที่สามารถอ้างอิงได้อย่างเรื่องเทพเจ้ากรีกโบราณ เรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิ้ล เป็นต้น เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ความกลมกลืน และป้องกันการถูกเหยียดเชื้อชาติด้วย
ถึงแม้จะปรับเปลี่ยนพลิกแพลงจากลูกแก้วมาเป็นไพ่แล้ว แต่ศาสตร์การทำนายด้วยไพ่ทาโรต์ก็ไม่ได้รับการยอมรับในทันที แต่มาได้รับความนิยมหลังจากที่เจ้าฟ้าชายชาร์ลที่ 6 ของฝรั่งเศส ได้อนุญาตให้หญิงชาวยิปซีเข้ามาดูดวงให้ แรกเริ่มก็ดูเพื่อเอ็นเตอร์เทน สร้างความสำราญใจให้คนชั้นสูงเท่านั้น แต่กลับกลายเป็นว่าแม่หมอดันทำนายความลับของพระองค์ได้อย่างแม่นยำ แถมผลทำนายเรื่องอนาคตก็เป็นไปตามที่แม่หมอพูดไว้ทั้งหมด ตั้งแต่นั้นมาจึงทำให้การดูดวงด้วยไพ่ของชาวยิปซีได้รับการยอมรับและความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ชาวยิปซีเองก็ได้การยอมรับจากคนยุโรปมากขึ้นตามไปด้วย
จนในปี ค.ศ. 1491 ได้มีการผลิตไพ่ทาโรต์สำรับแรกขึ้น มีทั้งหมด 78 ใบด้วยกัน มีชื่อว่า ไพ่ทาโรต์ชุดโซลาบุสกา ถูกตั้งชื่อตามผู้ครอบครองไพ่ 2 คนสุดท้ายนั่นเอง นับว่าเป็นไพ่ที่เก่าแก่ที่สุดที่ประวัติศาตร์ได้บันทึกไว้
ได้รู้ที่มาที่ไปของคำว่าไพ่ทาโรต์หรือไพ่ยิปซีแล้ว แต่สิ่งที่น่าสนใจมากกว่านั้นคือศิลปะและภาพวาดบนหน้าไพ่ สำหรับไพ่ชุดโซลาบุสกาเป็นไพ่ที่วาดด้วยศิลปะแบบเรอเนซองส์ โดย ชาร์ลส์ หรือ ชากเกอแมง แกรงกงเนอร์  จิตรกรชาวฝรั่งเศส โดยใช้เทคนิคพิเศษ คือ แกะสลักแผ่นทองแดงและระบายสีลงไป เอกลักษณ์ของไพ่ชุดนี้ คือ ใช้เส้นในการเน้นน้ำหนักให้เห็นรายละเอียดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้ออย่างชัดเจน มีการนำบุคคลในประวัติศาสตร์อย่าง พระเจ้าเนบูคัดเนสซาร์ กษัตริย์แห่งบาบิโลน มาร้อยเรียงเป็นเรื่องราวลงบนหน้าไพ่ด้วย
แต่ถึงอย่างนั้นไพ่ชุดนี้ก็ไม่ได้ถูกเผยแพร่ต่อสายตาประชาชี จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1907 มีหนุ่มชาวมิลานที่เป็นผู้ครอบครองต้นฉบับไพ่ชุดนี้อย่างถูกต้อง ได้นำสำเนาภาพถ่ายไพ่ส่งต่อให้กับ British Museum  ไพ่ชุดโซลาบุสกาจึงได้ถูกนำมาจัดแสดงและเผยแพร่ต่อสาธารณชนในตอนนั้นนั่นเอง
หากจะบอกว่าไพ่ชุด Rider-Waite ได้แรงบันดาลใจมาจากไพ่โซลาบุสกา ก็คงจะไม่ผิดนัก เพราะหลังจากที่ไพ่โซลาบุสกาได้ถูกจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์อังกฤษ อาร์เธอร์ เอ็ดเวิร์ด เวธ ก็ได้เป็นหนึ่งในผู้เข้าชมนิทรรศการในครั้งนั้นด้วย ซึ่งพ่อหนุ่มคนนี้เป็นหนึ่งในสมาชิกของสมาคม The Golden Dawn เป็นกลุ่มของคนที่ชื่นชอบและหลงใหลในเรื่องของเวทมนตร์ ไสยศาสตร์ สิ่งลี้ลับ หรือพวกศาสตร์มืดต่างๆ เมื่อได้เห็นชุดไพ่ในนิทรรศการเขาก็ได้แรงบันดาลใจอยากจัดทำสำรับไพ่ของตัวเองขึ้น ก็เลยลาออกจากสมาคมเดิม ไปจัดตั้งสมาคมใหม่ของตัวเอง แถมยังชักชวน พาเมลา โคลแมน สมิธ  จิตรกรสาวผู้ชื่นชอบเรื่องการอ่านไพ่ทาโรต์ และยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ The Golden Dawn มาร่วมกันออกแบบไพ่สำรับนี้ด้วยกัน จนได้ไพ่ทาโรต์ที่มีชื่อว่า Rider-Waite ออกเผยแพร่และวางจำหน่ายในปี ค.ศ. 1909
ส่วนศาสตร์ของ นายพร้อมพล อรุณรัตนดิลก
เรียกว่า มโนมยิทธิ
มโนมยิทธิ แปลความตามตัวอักษรได้ว่า
“มีฤทธิ์ทางใจ” คือ การรู้ การเห็น
การสัมผัส ตามความเป็นจริงด้วยใจ
หลักสูตร วิชชา “มโนมยิทธิ” นี้
ปรากฏมีรจนาไว้ในพระคัมภีร์วิสุทธิมรรค
ของพระพุทธโฆษาจารย์ เมืองสะเทิม
หรือเมืองสุธรรมวดี ซึ่งท่านเป็นพระอรหันต์
ปฏิสัมภิทาญาณ ที่โบราณาจารย์ท่านรับรอง
ไว้แล้ว
ไม่มีใครใช้สารเสพติดจนจิตหลอน
อย่างที่ นายณัฐพล เริ่มฤกษ์
ส่งข้อความมากล่าวหาในอีเมล์
ของร้านWitch Luck Cafe เมื่อเวลา22.30น.

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด
ดันกระทู้

somwangyu1

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 996
    • ดูรายละเอียด
ดันกระทู้